|
สภาพทางเศรษฐกิจ |
|
ทรัพยากรธรรมชาติ |
|
ทรัพยากรธรรมชาติ ลำคลอง ต้นน้ำ เป็นทรัพยากรล้ำค่ายิ่ง ทำให้เศรษฐกิจ
ด้านการเกษตรก้าวหน้าระดับหนึ่ง ปีหนึ่ง ๆ มีผลไม้จากตำบลละอาย หลายสิบตัน
เช่น มังคุด เงาะ ลองกอง ทุเรียน ตลอดจนยางพารา ส่งผลให้ความเป็นอยู่ประชาชนมีรายได้ดีพอสมควร
ผลิตผลจากป่า ในปีหนึ่ง ๆ จะได้รับผลผลิต น้ำผึ้งจากผึ้งธรรมชาติ
จำนวนมาก ทำให้ประชาชนมีรายได้สูงขึ้น |
|
การเกษตร |
|
การเกษตรเป็น เป้าหมายหลักในการประกอบอาชีพของชาวตำบลละอาย 89%
ของประชาชนทั้งตำบลประกอบอาชีพ ทางการเกษตร ได้แก่ ทำสวนยางเลี้ยงสัตว์และเพาะปลูก
11% ประกอบอาชีพราชการ รับจ้าง และอื่นๆ |
|
โครงสร้างทางด้านเศรษฐกิจ
ตำบลละอาย สรุปได้ดังนี้ |
|
การเกษตรเป็น เป้าหมายหลักในการประกอบอาชีพของชาวตำบลละอาย 89%
ของประชาชนทั้งตำบลประกอบอาชีพ ทางการเกษตร ได้แก่ ทำสวนยางเลี้ยงสัตว์และเพาะปลูก
11% ประกอบอาชีพราชการ รับจ้าง และอื่นๆ |
|
1. ร้านค้าและบริการ ประกอบด้วย
1.1 ร้านค้าขายของชำและสินค้าเบ็ดเตล็ด จำนวน 74 แห่ง
1.2 ร้านอาหารเครื่องดื่ม จำนวน 2 แห่ง
1.3 ร้านน้ำชา จำนวน 7 แห่ง
1.4 ร้านเสริมสวย จำนวน 3 แห่ง
1.5 โรงพิมพ์ จำนวน - แห่ง
1.6 สถานบันเทิง จำนวน - แห่ง
1.7 ร้านรับซ่อมจักรยานยนต์ จำนวน 16 แห่ง
1.8 ปั๊มหลอดแก้ว จำนวน 26 แห่ง
2. ร้านค้าชุมชน จำนวน 6 แห่ง
3. โรงแรม ที่พัก จำนวน - แห่ง
4. สถาบันการเงิน / กลุ่มออมทรัพย์
4.1 สหกรณ์เครดิตยูเนียน จำนวน 2 แห่ง
4.2 สหกรณ์ดำเนินการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์น้ำยาง จำนวน 3 แห่ง
4.3 กลุ่มออมทรัพย์ จำนวน 1 แห่ง
5. กลุ่มพัฒนาอาชีพ จำนวน 6 แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|